“พราหมณ์คนนึง นำใบไม้ ผลไม้ หลากหลายชนิดมาโขลกผสมรวมกันใส่ลงไปในหม้อ แล้วใส่ปัสสาวะ และอุจจาระของโค ลงไปผสมในหม้อนั้นด้วย จากนั้นก็ต้มเคี่ยวให้เหนียวข้นจนเป็นยาขึ้นมา”
อ่านต่อพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ภิกษุ ตรัสสอนให้ พึ่งตนพึ่งธรรม ไม่พึ่งสิ่งอื่น ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน 4 เพราะการพึ่งตนพึ่งธรรม ทำให้เจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ โภคะ และพละ และให้ประพฤติธรรมอันเป็นโคจรที่สืบเนื่องมาจากบิดา (พระองค์เอง) บุญกุศลจะเจริญยิ่งขึ้น มารจะขัดขวางไม่ได้ และได้ตรัสอธิบายถึง การที่จะมา
อ่านต่อความทุกข์ที่รุนแรงที่สุดในชีวิตคนหนึ่ง ๆ ก็คือ ความตาย นั่นเอง ดังนั้นเราจะสามารถรับมือกับความตายได้ก็ด้วยการทำให้การเกิดสิ้นไป รายละเอียด และวิธีการสามารถศึกษาได้จากธรรมะของพระพุทธเจ้า ที่องค์สัมมาสัมพุทธเจ้าต้องอาศัยการใคร่ครวญโดยแยบคายเป็นอย่างดี จึงจะกลั่นกรองออกมาเป็นธรรมะได้ ถือเป็นสัจจะควา
อ่านต่อเพราะการกระทำปรุงแต่งเหล่านั้น จึงเกิดเป็นลักษณะของการสั่งสม เป็นสภาวะที่ทำให้เกิดความชอบ ไม่ชอบ (ตัณหา) "จิต" จึงทำให้มีความรู้สึกว่าเป็นตัวเราของเราอยู่ในนั้น ซึ่งจิตมันเป็นผลพลอยได้ เป็นผลพวงของความยึดถือมาอยู่แล้ว เป็นอย่างนี้มาช้านานแล้ว เป็นกระบวนการที่เป็นกระแสปรุงแต่งไปอยู่ตลอดกาลอยู่แล้
อ่านต่อเมื่อตัวเราป่วยหรือคนใกล้ตัวป่วยด้วยโรคร้าย การทำใจให้ยอมรับเป็นการยาก การมีสติสัมปชัญญะจะทำให้เกิดปัญญายอมรับในความจริงว่า ร่างกายเป็นแบบนี้ เป็นธาตุ 4 กับกรรม เป็นไปตามเหตุตามปัจจัย ใคร่ครวญว่ายังมีอกุศลธรรมใดในใจ ความกังวลความยึดถือที่ทำให้เราทุกข์ ยึดถือตรงไหน ให้แก้ที่ตรงนั้น ทำความเข้าใจที่
อ่านต่อประเด็นที่น่าสนใจในตอนนี้ พูดถึงสถิติในสัมมโนประชากรระบุว่า คนไม่มีศาสนากันเพิ่มมากขึ้น คนไม่มีศาสนาจริง ๆ ก็คือ คนที่ไม่แคร์อะไร ไม่เชื่อว่าจะต้องทำความดี ถึงแม้คุณระบุไว้ว่าไม่มีศาสนาเป็น NIL แต่ถ้าดูตามหลักการประพฤติแล้ว คุณยังมีหลักในการดำเนินชีวิต คุณยังมีที่พึ่ง มีหลักการ นั่นคือ ดีแล้ว ดีก
อ่านต่อเป็นตอนที่ 2 ของจตุกกนิบาต ในอนุโสตสูตร กล่าวถึงการไปตามกระแสของตัณหาหรือไม่ของบุคคล 4 ประเภท คือ 1. ผู้ไปตามกระแส คือ ไปตามกามจนถึงทำบาปกรรม 2. ผู้ทวนกระแส คือ บวชแล้ว และใช้ความพยายามอย่างมาก ในการหลีกออกจากกาม ยังไม่บรรลุเป็นอริยบุคคล 3. ผู้มีภาวะตั้งมั่น หมายถึงอนาคามี 4.
อ่านต่อสัตว์ป่าจำนวนหนึ่งขาดแคลนน้ำ เพราะเหตุว่าปีนั้นเป็นปีที่แล้งมาก หมู่สัตว์ทั้งหลายต้องการน้ำดื่มเพื่อประทังชีวิต จึงพากันนำผลไม้อาทิ มะม่วง ชมพู่ ผลไม้ที่พอจะหาได้ในป่ามาแลกน้ำดื่มกับดาบสรูปหนึ่ง
หนทางแห่งการรอดพ้นจากภัย ก็ด้วยความเพียร องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ ดังนี้
อ่านต่อเป็นตอนจบของพระสูตรนี้ เป็นตอนที่ปาฏิกบุตร หลอกลวงประชาชน ในลักษณะที่โอ้อวดว่าสามารถแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ ได้มากกว่าพระพุทธเจ้าเป็นทวีคูณ แต่พอจะให้เกิดการพิสูจน์ ก็ไม่สามารถที่จะทำความชัดแจ้ง ให้ถึงการตรวจสอบที่ถูกต้องได้ ท่านเปรียบเหมือนสุนัขจิ้งจอกที่เห็นราชสีห์มีความสามารถ มีกำลัง มีการคำราม ตั
อ่านต่อธรรมอันเป็นกำลังในการปฏิบัติเพื่อประหารอกุศล พลังอันเป็นหลักมั่นคงในจิตแห่งการเจริญปัญญา พลังนั้นนั่นคือ "พละ" หลักธรรมสำหรับปรับสมดุลของจิต เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน
อ่านต่อเกิดเป็นมนุษย์มันดีอยู่แล้ว มีกุศลมากกว่าอกุศลอยู่แล้ว ไม่อย่างนั้นเราคงไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานเปรตอสุรกาย กุศลหรืออกุศลมันก็อยู่ในกายในใจของเรานี้ แต่ถ้าไม่รู้จักแยกแยะ จะเห็นว่าบางทีก็ร้ายบางทีก็ดี ขึ้นอยู่กับกำลังขับดันของแต่ละฝ่าย ๆ จะดึงไปทางไหน
อ่านต่อรูปแบบการบูชา ปีชง แก้ขี้เกียจ แก้เครียด กรรมเก่าอีก ทำอย่างไรที่เข้าใจถูกต้องไม่งมงาย หาจุดสมดุลได้ ดวงดีด้วยโชคดีด้วยเป็น “สุคะโต”
อะไรคือสาระสำคัญ เข้าใจกระบวนการทาง “สายกลาง” จะว่ายากก็ไม่ยากเกินไป จะว่าง่ายก็ไม่ง่าย ที่สำคัญคือฟังแล้วทำ “ปรับจิตตัวเอง ตั้งไว้ในสิ่งที่ทำ”
อ่านต่อ