“ปูตัวหนึ่งเอาก้ามอันแข็งแรงทั้งสองของมัน คีบหนีบคอนกกระยางไว้ จนนกกระยางนั้นปากอ้า น้ำตาไหล และไม่อาจทำอันตรายใด ๆ แก่ปูเจ้าปัญญาได้อีกต่อไป”
อ่านต่อพระผู้มีพระภาคตรัสแก่ภิกษุ ขณะทรงพักแรม ณ พระตำหนักหลวงในพระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกา ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาลันทา โดยทรงปรารภคำติเตียนพระรัตนตรัยของปริพาชกชื่อสุปปิยะ และคำสรรเสริญพระรัตนตรัยของพรหมทัตตมาณพผู้เป็นศิษย์ ซึ่งมีถ้อยคำขัดแย้งกัน และกล่าวถึงปัญญาอันประเสริฐของพระองค์ จากน
อ่านต่อเหตุเกิดทุกข์ไม่ใช่ผู้อื่นบันดาล แต่เป็นตัณหาที่อยู่ในใจเรา ค้นพบประเด็นความเชื่อมโยง รายละเอียดของตัณหา 3 อย่าง และวิธีการละ ได้ในใต้ร่มโพธิ์บทตอนนี้ ซึ่งเป็นตอนที่ 2/4 ของเรื่อง อริยสัจ
อ่านต่อ..ส่วนไหนเกิดมีขึ้นพัฒนาขึ้น อยู่ที่เราประพฤติปฏิบัติที่แตกต่างกันในจิตใจ ที่ว่าตัณหาไม่สิ้นรอบอวิชชาละไม่ได้ นั่นคือส่วนที่เป็นพาลไม่ดี dark side ด้านมืดในจิตมีกำลัง แต่ถ้าเราเริ่มลอกถอนอวิชชาได้เริ่มรื้อถอนตัณหาได้ ส่วนที่เป็นบัณฑิตมีเพิ่มในจิตใจ ส่วนที่เป็นพาลมันลดลงทันที
อ่านต่อห้ามความชั่วด้วยความดี ค่อย ๆ บอกค่อย ๆ สอน พูดดี ๆ เป็นคำฟูใจเป็นคำที่ชาวเมืองเขาพูดกัน คำพูดที่ดี ๆ จึงจะเป็นสิ่งที่จะดี จะให้ลูกตั้งอยู่ในความดี ห้ามเขาเสียจากบาป ไม่ใช่ไปทำบาปให้เขาเห็น ต้องทำความดีขึ้นมา พ่อแม่ต้องเป็น
อ่านต่อ"ความรักทั้งหลายย่อมมีแก่บุคคลผู้มีความเกี่ยวข้อง. ทุกข์นี้เป็นไปตามความรัก ย่อมปรากฏ…" พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒ ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
Q: เสียงนุ่มนวลแต่ทำไมฟังไม่เข้าใจ
A: การจะฟังธรรมให้รู้เรื่อง ควรฟังแยกเป็นสองส่วน คือ เหตุและผล การฟังแบบนี้เป็นการเพิ่มบุญวาสนาในส่วนของปัญญา และจิตอย่าไปอยู่ที่ผู้พูด ให้อยู่กับการรับรู้ทางเสียง ฟังแล้วต้องปฏิบัติสมาธิด้วย
5 พระสูตรในกุสินารวรรค เริ่มด้วยกุสินารสูตร ธรรม 3 ข้อที่ควรมี คือ ความคิดหลีกออกจากกาม ความคิดในทางไม่พยาบาท และในทางไม่เบียดเบียน ส่วนธรรม 3 ข้อที่ควรละก็ตรงข้ามกัน ทานที่ให้ก็จะมีอานิสงส์ต่างกัน จะได้แง่คิดที่ว่าไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ไหนก็ควรจะมีคุณธรรมทั้งสามข้อนี้ เพื่อที
อ่านต่อ“ลิงฝูงหนึ่ง ช่วยกันถอนต้นไม้ทั้งต้นเล็ก ต้นใหญ่ ถอนต้นไม้ไปก็ดูรากของต้นไม้ไปด้วย ถอนแล้วก็ดูราก ดูรากแล้วก็ปักลงดิน ทำแบบนี้ซำ้ไปซำ้มา ช่างน่าประหลาดใจจริง”
บุคคลผู้ไม่มีปัญญาไม่เพียงแต่จะนำภัยมาสู่ตน ย่อมนำพาภัยตลอดถึงผู้อื่นด้วย
อ่านต่อฑีฆนขสูตร พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ฑีฆนขปริพาชก ซึ่งเป็นหลานของท่านพระสารีบุตร ได้ทรงอธิบายเกี่ยวกับความเห็นของเขาและของสมณพราหมณ์ที่มีอยู่ 3 จำพวก ที่มีความเห็นแตกต่างกัน ทำให้เกิดการทุ่มเถียงกัน ทำลายกัน และ เรื่องของเวทนา ที่มีการเกิดขึ้น ดับไป มีเหตุมีเงื่อนไขปัจจัยของมัน แล้ว
อ่านต่อใต้ร่มโพธิบทในวันนี้เป็นตอนแรกของ "อริยสัจ องค์ความรู้แห่งปัญญา"
เริ่มด้วย ทุกข์ ต้องกำหนดรู้ ทุกข์ ต้องรอบรู้ และทุกข์ ต้องเข้าใจ นั้นคือ "ทุกขอริยสัจ ที่ต้องปริญญายะ"
อ่านต่อถึงเวลาที่จะปลดแอกตัวเราจากความยึดถือได้แล้ว ที่ไปยึดได้ คือ อุปาทาน เพราะเพลินพอใจในสิ่งใด มันติดกับสิ่งนั้นทันที โทษของมันก็มาด้วยเพราะความที่มันไม่เที่ยง จะกำจัดมันก็ละความยึดถือ อย่าให้เกิดความเพลินความพอใจ คือ เห็นโทษในความที่ไม่มีสาระไม่มีแก่นสาร เห็นบ่อย ๆ จะเป็นอุบายเครื่องนำออก
อ่านต่อพี่น้องพ่อแม่ไม่ได้มีอยู่เรื่อย พ่อแม่คลอดลูกคนไหน นั่นพี่น้องเรา ก็พ่อแม่เดียวผู้ให้กำเนิด ไม่มีเงื่อนไขอื่น ถ้าเขาไม่ดีต้องรักษาความดีที่เขามีอยู่ อะไรดี ๆ แบ่งปันกัน ค่อยพูดค่อยบอก ถ้าไม่แก้ไข มันจะเป็น“ตราบาป” เป็นนิมิตเครื่องหมายของความไม่ดีโผล่มา ทำให้จิตของเราตกไปอยู่ห้วงของอกุศลได้
อ่านต่อ