
Time index
[00:40] เริ่มปฎิบัติ ด้วยอานาปานสติ
[14:58] เริ่มใต้ร่มโพธิบท
[17:03] ความเป็นพหูสูต
[20:15] set ของคำที่มาด้วยกัน
[21:08] 1) ฟังมาก “พหุสสุตา”
[25:38] 2) ทรงจำได้ “ธตา”
[30:05] 3) คล่องปาก “วจสา ปริจิตา”
[34:49] 4) ขึ้นใจ “มนสานุเปกขิตา”
[38:28] 5) แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ “ทิฏฐิยา สุปฏิวิทธา”
[47:26] ญาณ 3 ใน อริยสัจ 4
[50:01] ทบทวน
[56:46] สรุป
คำว่า "พหูสูต" นี้ จะมีคำพ่วงกันมา คำที่เราจะได้ยินเป็นประจำ คือ "ผู้สดับฟังมามาก ทรงจำไว้ได้ คล่องปากขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดี ด้วยความเห็น ซึ่งธรรมอันงดงามในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด เป็นการประกาศพรหมจรรย์บริสุ
อ่าน ”อานันทสูตร” พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
อ่าน ” สีลสูตร ” พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
อ่าน “ นิสันติสูตร “พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต